พุทธธรรม | หน้า๑ | หน้า๒ | หน้า๓ | หน้า๔ |หน้า๕ | หน้า๖ | เกี่ยวกับสุขภาพ |

logo.jpg (1717 bytes)

<a href="http://www.oocities.org/thaiok1/index.htm>
<img src = "http://www.oocities.org/thaiok1/logo.jpg" width=88 height=31 alt="Thaiok1"></a>

  ธรรมจักษุ   
นิตยสารทางพระพุทธศาสนา
ที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย
หนังสือธรรมะภาษาไทย
หนังสือของสภาการศึกษา

หนังสือประเภทเทศนา

พระนิพนธ์ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า
พระนิพนธ์ของ
สมเด็จพระสังฆราชเจ้า
กรมหลวงวชิรญาณวงศ์
พระนิพนธ์ของสมเด็จ
พระญาณสังวรสมเด็จพระสังฆราช
สกลมหาสังฆปริณายก
ผลงานของพระเทพวิสุทธิกวี
ผลงานของพระราชธรรมนิเทศ
ผลงานของอาจารย์สุชีพ
ผลงานของพันเอกปิ่น มุทุกันต์
ผลงานของอาจารย์เสถียร
ผลงานของอาจารย์วศิน อินทสระ
หนังสือพระพุทธศาสนาอื่นๆ
หนังสืออนุสรณ์
หนังสือพระไตรปิฎก
ปฏิจจสมุปบาทธรรม
  ประวัติมูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัยฯ
  พระพุทธศาสนาในประเทศไทย
  ความรู้เรื่องพระไตรปิฎก
  ธรรมศึกษา
  ธรรมปฏิบัติ-ตอบปัญหาธรรม
  นิตยสารธรรมจักษุ
  ประวัติสมเด็จ 1-19 พระองค์ 
  สิ่งพิมพ์ภาษาไทย
  คำสดุดีพระพุทธศาสนา

   ห้องภาพ

   ห้องหนังสือ

   Download Thai Font

   พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

   ธรรมจักษุ (ฉบับล่าสุด)

   รายชื่อหนังสือภาษาไทย

   รายชื่อหนังสือภาษาอังกฤษ

                  สารบัญ : กรณีธรรมกาย โดย พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต)

โดย พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตโต)
กรณีธรรมกายฉบับสมบูรณ์ มีเชิงอรรถครบถ้วน โดยตรงจากวัดญาณเวศกวัน จาก คุณระนาดเอก (Word97)
กรณีธรรมกายฉบับสมบูรณ์ มีเชิงอรรถครบถ้วน ใน file รูปแบบ PDF อ่านด้วย Acrobat Reader

ต้นเรื่อง
- กรณีธรรมกาย ถึงขั้นจ้วงจาบพระธรรมวินัย
- ประพฤติวิปริตจากพระธรรมวินัย ก็ร้ายแต่ทำพระธรรมวินัยให้วิปริต ร้ายยิ่งกว่า
- ไม่ควรยอมเสียพระศาสนา เพื่อรักษาตัวของตน
- จับประเด็นให้ชัด วางท่าทีปฏิบัติให้ตรงตามต้นเรื่อง
- ปัญหาของวัดพระธรรมกาย ส่วนที่กระทบต่อพระธรรมวินัย

รู้จักพระไตรปิฎก
- พระพุทธศาสนาไม่ใช่ปรัชญา
- พระไตรปิฎก คือสถิตของพระศาสดา
- พระไตรปิฎกสำคัญต่อพระพุทธศาสนายิ่งกว่าที่รัฐธรรมนูญสำคัญต่อประเทศชาติ
- พระไตรปิฎกบาลีที่คนไทยนับถือ คือฉบับเดิมแท้ เก่าแก่ และสมบูรณ์ที่สุด
- เพราะไม่รักษาคำสอนเดิมของพระพุทธเจ้าไว้ มหายานจึงต่างกันเองห่างไกล ยิ่งกว่าต่างจากถาวรอย่างไทย
- ถ้าตีรวนพระไตรปิฎกได้ ก็ถอนรากพระสงฆ์ไทยสำเร็จ
- เมื่อชาวพุทธยังนับถือพระไตรปิฎก ก็ยังเคารพพระพุทธเจ้า และมีพระศาสดาองค์เดียวกัน
- ถ้าหลักคำสอนยังมีมาตราฐานรักษา พระพุทธศาสนาก็อยู่ไปได้ถึงลูกหลาน
- เพราะยังมีพระไตรปิฎกเถรวาทได้เป็นมาตราฐาน พระมหายานจึงมีโอกาสย้อนกลับมาหาพุทธพจน์ที่แท้
- สิ่งควรทำที่แท้ คือ เร่งชวนกันหันมายกเอาพระไตรปิฎกของเราขึ้นศึกษา

นิพพานเป็นอนัตตา
- นิพพาน ไม่ใช่ปัญหาอภิปรัชญา
- แหล่งความรู้ที่ชัดเจนมีอยู่ ก็ไม่เอา กลับไปหาทางเดาร่วมกับพวกที่ยังสับสน
- พระพุทธเจ้าตรัสไว้แน่นอนเด็ดขาดว่า ลัทธิถืออัตตาไม่ใช่คำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
- พระไตรปิฎกและอรรถกถาระบุว่า นิพพานเป็นอนัตตา
- การหาทางตีความ ให้นิพพานเป็นอัตตา
- การใช้ตรรกะที่ผิด เพื่อให้คิดว่านิพพานเป็นอัตตา
- การจับคำความที่ผิดมาอ้างเป็นหลักฐานเพื่อให้นิพพานเป็นอัตตา
- เมื่อจำนนด้วยหลักฐาน ก็หาทางทำให้สับสน
- เมื่อหลักฐานก็ไม่มี ตีความก็ไม่ได้ ก็หันไปอ้างผลจากการปฏิบัติ
- เพราะไม่เห็นแก่พระธรรมวินัย จึงต้องหาทางดิ้นรนเพื่อหนีให้พ้นสัจจะ
- พระพุทธศาสนาคือศาสนาของพระพุทธเจ้า ต้องหาคำสอนของพระองค์มาเป็นมาตรฐานให้ได้
- จะรักษาพุทธศาสนาได้ พุทธบริษัทต้องมีคุณสมบัติที่น่าไว้วางใจ
- ความซื่อตรงต่อหลักพระศาสนา และมีเมตตาต่อประชาชน คือหัวใจของการรักษาระบบไตรสิกขาไว้ให้แก่ประชาสังคม

ธรรมกาย เรื่องสูงที่ไม่ใหญ่
- ธรรมกายแบบไหน ก็มีความหมายชัดเจนของแบบนั้น
- ธรรมกายเดิมแท้ในพุทธกาล
- บำรุงเลี้ยงบริหารร่างกายไว้ รูปกายก็เจริญงอกงาม หมั่นบำเพ็ญศีลสมาธิปัญญา ธรรมกายก็เจริญขึ้นมาเติบโตได้เอง
- จะมองดูรูปกาย ก็อาศัยเพียงตาเนื้อ แต่ต้องมีตาปัญญา จึงจะมองเห็นธรรมกาย
- จะเอาธรรมกายของพระพุทธเจ้า หรือธรรมกายแบบไหนก็มีเสรีภาพเลือกได้ แต่ขอให้บอกไปตามตรง

อายตนนิพพาน คือดับอายตนะ
- "อัตตา" ไม่มีโดยปรมัตถ์ เป็นเรื่องที่ชัดเจนไปแล้ว
- "อายตนนิพพาน" ไม่มีโดยบาลีนิยม ก็ชัดเจนเช่นกัน
- อายตนนิพพาน ไม่มี แต่แปลให้ดีก็ได้ความหมาย นิพพานายตนะ ถึงจะใช้เป็นศัพท์ได้ แต่ไม่ให้ความหมายที่ดี
- อายตนนิพพานแท้ ที่นี่ เดี๋ยวนี้
- ใจหมดโลภโกรธหลง สว่างโล่งสดใน เมื่อไร ก็ได้เห็นนิพพานของพระพุทธเจ้า เมื่อนั้นทันที

เรื่องเบ็ดเตล็ด
เรื่องเบ็ดเตล็ดที่ ๑
พระไตรปิฎกบาลีอักษรโรมันของสมาคมบาลีปกรณ์ ประเทศอังกฤษ เป็นฉบับสากล?
- สมาคมบาลีปกรณ์พิมพ์พระไตรปิฎกอักษรโรมันได้ ก็เพราะมีพระไตรปิฎกของพวกเราให้เขาคัดลอก
- ถึงแม้มีความเพียร แต่เพราะขาดกำลังและประสบการณ์ พระไตรปิฎกอักษรโรมัน จึงลักลั่นไม่เป็นระบบ
- พระไตรปิฎกบาลีฉบับสากลโดยรูปแบบ ยังไม่มี.แต่โดยเนื้อหา พระไตรปิฎกบาลีเป็นสากลตลอดมา
- หันจากพระไตรปิฎกแปลของ Pail Text Society ชาวตะวันตกที่ศึกษาพุทธศาสนา เหออกมาสู่ทางเลือกอื่น

เรื่องเบ็ดเตล็ดที่ ๒ ทัศนะของนักวิชาการตะวันตก เกี่ยวกับเรื่องอัตตาและเรื่องนิพพาน เป็นอัตตา หรือเป็นอนัตตา
- นักปราชญ์ชาวตะวันตกก็น่ายกย่องอยู่ แต่ต้องรู้จักเขาให้พอดีกับที่เขาเป็นจริง
- ปราชญ์พุทธศาสนาตะวันตกรุ่นเก่า ยังเข้าใจสับสนระหว่างพุทธธรรม กับความคิดเดิมในวัฒนธรรมของตน
- รู้ถึงตามทันว่าคนนอกเขาคิดเข้าใจไปแค่ไหนแต่ไม่ใช่รอให้เขามาวินิจฉัยหลักการของเรา
- พอชาวตะวันตกมาบวชเป็นพระฝรั่ง ความรู้พุทธธรรมก็เริ่มเข้าสู่ทางที่ถูกต้อง
- น่าอนุโมทนาที่แม้จะช้าสักหน่อย แต่ในที่สุดปราชญ์ตะวันตกก็จับหลักพุทธได้

บทส่งท้าย

ภาคผนวก: เอกสารของวัดพระธรรมกาย.....147 (1) (2) (3) (4)


ภาคผนวก: เอกสารของวัดพระธรรมกาย

หนังสือ นิพพาน อนัตตา หน้า 1-4
หนังสือ นิพพาน อนัตตา หน้า 15-16
หนังสือ นิพพาน อนัตตา หน้า 42-48
หนังสือ นิพพาน อนัตตา หน้า 49-52

หนังสือ นิพพาน อนัตตา หน้า 115-121

                                      สัตว์โลกทั้งหลาย ย่อมเป็นไปตามกรรม


© ขอขอบคุณ ผู้ที่ ให้การสนับสนุนทางด้าน ข้อมูล และผู้ที่เข้ามาเยี่ยมชมทุกท่าน  

Viboon | MCOT | Nus 1998Kidsquare | Thai.net/Teacherv | Liverpool.in.th | Thaibyte| Noomsao | Thaimisac | WiskidMthai | Chowloke| ThaiLE | Samyan | Area4u | Tungtae | Muangthai| ChantauriPnc | Torlae| A4newsAnusorn | StyleteenSiamfun | Thaipun

หากผิดพลาดประการใด ก็ติชมกันได้เต็มที่เรายินดีมากครับ ขอให้ทุกท่าน มีแต่ความสุขความเจริญ.
คำเตือน   ความขยัน เป็นบ่อเกิดแห่งความสำเร็จ